วันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2557

โรงเรียนสุจริต


ยินดีต้อนรับสู่โรงเรียนสุจริต...โรงเรียนอนุบาลชุมชนบางบ่อ (ศุภพิพัฒน์รังสรรค์)











แผนเศรษฐกิจพอเพียงคุณธรรม

แผนการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3  เศรษฐศาสตร์                                                                    จำนวน   3   ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา  ศาสนาและวัฒนธรรม                               ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6         ปีการศึกษา 2557
  แผนที่ 1 หลักการเศรษฐกิจพอเพียง                        เวลา  1   ชั่วโมง             ผู้สอน นางสาวอัญชนะ  คีรีศรี
1.              สาระสำคัญ
                 เศรษฐกิจพอเพียงถือเป็นแนวคิดที่เน้นการพึ่งตนเองด้วยการนำทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจำกัด
มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการดำรงชีวิต 
2.  มาตรฐานการเรียนรู้  ส3.1 ส3.2
3.  ความสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
     3.1  ความพอประมาณ
     3.2  ความมีเหตุผล       ( ความประพฤติถูกต้องเหมาะสม : จริยธรรม / สีลสิกขา )
     3.3  การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
     3.4  เงื่อนไขของคุณธรรม  ( จิตใจที่สนใจ  ใคร่รู้  มีความเพียร  ตั้งมั่น : คุณธรรม / จิตตสิกขา/ สมาธิ )
      3.5 เงื่อนไขของความรู้      ( ระมัด ระวังและรอบคอบ คิดพิจารณา : ปัญญาสิกขา )
4.   ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง  ด้านความประพฤติ (จริยธรรม)   ด้านจิตใจ  ( คุณธรรม)   และด้านความรู้ ( นามธรรม)
      ความเข้าใจและการปฏิบัติต่อความรู้  ( ปัญญา )
1.  นักเรียนปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงได้ ( ศีล )
2.  นักเรียนนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ( ปัญญา )
3.  นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าของเศรษฐกิจพอเพียงได้ ( จิตใจ )
5.   สาระการเรียนรู้
          -  หลักการเศรษฐกิจพอเพียง
         -   วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง
         -    การปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
6.   คุณลักษณะอันพึงประสงค์
      1.  ห่างไกลอบายมุข  สิ่งเสพย์ติด
      2.  ซื่อสัตย์สุจริต
      3.  ปฏิบัติตนตามขนบธรรมเนียมประเพณี
      4.   การแต่งกาย
      5.   การตรงต่อเวลาในการมาโรงเรียน
      6.   รักษาความสะอาดและดูแลทรัพย์สินส่วนรวม
      7.   ความพร้อมในการการเรียน
      8.   ระเบียบวินัยในการเรียน
     9.     ความร่วมมือในหมู่คณะ
     10.   การแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้  
7.   จุดประสงค์การเรียนรู้    ด้านความประพฤติ (จริยธรรม)  จิตใจ (คุณธรรม) และความรู้ความเข้าใจ
และการปฏิบัติต่อความรู้ ( ปัญญา) เขียนเป็นพฤติกรรมที่สามารถวัดและประเมินผลได้
8.   กิจกรรมการเรียนรู้ ( ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ  ได้คิด ครูเป็นเพียงอธิบาย เล่า บอกเท่าที่จำเป็น  ส่งเสริมให้
ผู้เรียน  เรียนรู้ได้ด้วยตนเองก่อน  ได้แก่ ขั้นนำ ขั้นให้ประสบการณ์/จัดกิจกรรมและขั้นสรุป โดยสามารถใช้ 7 ส
มาเป็นแนวทางการจัดกิจกรรมได้หรือรูปแบบ 9 รูปแบบหรือการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน)
         ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1.  ครูนำหลักการปรัชญาของหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาให้นักเรียนดูแล้วร่วมสนทนา
 จากนั้นครูตั้งประเด็นคำถามให้นักเรียนช่วยตอบดังนี้
โดยให้นักเรียนยกตัวอย่าง
-       [C5] คนในสังคมที่ปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันมีลักษณะอย่างไรบ้าง
-       นักเรียนมีวิธีการแนะนำให้บุคคลอื่น เช่น พี่ น้อง เพื่อน  ให้ปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันได้อย่างไร
   ขั้นฝึกประสบการณ์
2.    นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันเล่านิทานคุณธรรมและบทบาทสมมติเกี่ยวกับหลักการปรัชญาของหลักเศรษฐกิจพอเพียง
         -   วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง
[C7]       -    การปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
       4.  นักเรียนบอกพฤติกรรมการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันพร้อมกับ
           บันทึกลงในสมุดพร้อมวาดภาพประกอบ
       5ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างพฤติกรรมการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน
             ของคนในโรงเรียน  ครอบครัว และชุมชนเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีที่ควรนำไป
             ปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน
[C8] 

7.     [C9] นักเรียนร่วมกันบอกผลดีการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันพร้อมบันทึก
ลงในสมุด
       8.   นักเรียนช่วยกันสรุปหลักการเศรษฐกิจพอเพียง    วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและ
        การปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและช่วยกันสรุปข้อคิดที่ได้จากการการเล่านิทานคุณธรรม
9.  สื่อการเรียนรู้
1.  โมเดลปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.  การเล่านิทานคุณธรรม
3.  หนังสือเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
10.  การประเมินผลตามแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ
       1.   ประเมินตามสภาพจริง
                        ด้านกายภาวนา  ศีลภาวนา
-   ระเบียบวินัยในการเรียน
-    ความรับผิดชอบในการส่งงานตามกำหนดเวลา
-    พิจารณาจากการตรวจผลงาน
                1.2  ด้านจิตภาวนา
                       - ความตั้งใจในการทำงาน
                       -  พิจารณาจากการตรวจผลงาน
                1.3   ด้านปัญญาภาวนา
                        - ตรวจผลงานเรื่องผลดีการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน
         2.   เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลประเมินผล
                   2.1  ใบงาน
                   2.2  แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน
         3.  เกณฑ์การประเมิน
                   3.1  ใบงาน
-  หลักการเศรษฐกิจพอเพียง
             -  วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียง
             -  การปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
·       รายการประเมินพฤติกรรมเกี่ยวกับการปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงเป็นประจำ
(2 คะแนน) ปฏิบัติบางครั้ง (1 คะแนน) ไม่เคยปฏิบัติ (0 คะแนน)
·       ระดับคุณภาพ 20 18 คะแนน ระดับดีมาก, 17 14 คะแนน ระดับดี, 7 13 ระดับพอใช้,
6 0 ระดับปรับปรุง
·       ผลงานบอกผลดีการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน
-  เขียนพฤติกรรมของการปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน คำตอบข้อละ 1 คะแนน ระดับคุณภาพ 10 9 คะแนน ระดับดีมาก, 8 7 ระดับดี,  6 4 ระดับพอใช้, 3 0 ระดับปรับปรุง
                   3.2  สังเกตพฤติกรรมนักเรียน
·       ระเบียบวินัย
·       ความตั้งใจในการทำงาน
·       การซักถามและตอบคำถาม
·       ความรับผิดชอบส่งงานตามกำหนดเวลา
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับคุณภาพ
3 คะแนน   ระดับดี
11 – 12  คะแนนระดับดี
2 คะแนน   ระดับพอใช้
8 10  คะแนนระดับพอใช้
1 คะแนน   ระดับปรับปรุง
0 7  คะแนนระดับปรับปรุง
                        นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75 ถือว่าผ่านการประเมิน

บันทึกหลังการเรียนรู้
1.              ด้านกายภาวนา ศีลภาวนา
นักเรียนสามารถปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน ทั้งที่บ้าน โรงเรียน และชุมชนในเรื่องการดำเนินชีวิต เช่น การประหยัดอดออม การเลือกซื้อสินค้า
2.              ด้านจิตตภาวนา
นักเรียนเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน มีความตั้งใจ สนใจ ในการตอบคำถามและปฏิบัติกิจกรรมได้เป็นอย่างดี
3.              ด้านปัญญาภาวนา
-  นักเรียนบอกบอกผลดีการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันได้
-  นักเรียนบอกพฤติกรรมการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันได้
นักเรียนเห็นประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวัน ในฐานะสมาชิกที่ดีของโรงเรียนและชุมชนได้

 ความคิดเห็นของผู้ตรวจแผน
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................................

               
ลงชื่อ....................................................................ผู้ตรวจแผน
                                                                                                                         (นางสุพรรณีย์  ลิ้มกิตติรัตน์)
                                                                    รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ โรงเรียนอนุบาลชุมชนบางบ่อ(ศุภพิพัฒน์รังสรรค์)

 บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
    - ผลการจัดการเรียนรู้ (นักเรียนทั้งหมด       คน)
นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี.............คน  คิดเป็นร้อยละ.............
                นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.............คน  คิดเป็นร้อยละ.............
                นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง.............คน  คิดเป็นร้อยละ.............
 -  การปรับปรุงและการพัฒนา
........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................


                                                                                                                              
                                                                                                                (นางสาวอัญชนะ  คีรีศรี)
                                                                                                                           ครูชำนาญการ  




หมายเหตุ การตรวจทานแผนการจัดการเรียนรู้ (ทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะแกนกลาง)

 [C1]ข้อที่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต
 [C2]ข้อที่ การแก้ปัญหา  การเจริญสติ

 [C3]ข้อที่ การดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่

 [C4]ข้อที่ การสื่อสารและถ่ายทอดความรู้

 [C5]คำถามระดับสูง  ยกตัวอย่าง
 [C6]คำถามระดับสูง  สรุป  การนำไปใช้ในชีวิตี่ 6         ปีการศึกษา 2555
 [C7]ข้อที่ การสื่อสารและถ่ายทอดความรู้

 [C8]ข้อ3 การคิดวิเคราะห์ 
 [C9]ข้อที่ 1 การเรียนรู้ตลอดชีวิต